บทความทั้งหมด

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมและแนวทางการนำไปใช้ (มกษ. 9024-2564) ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 2) ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนข้อ 3.7 กำหนดจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (ขั้นที่ 7/หลักการที่ 2) และภาคผนวก ก ลำดับขั้นตอนและตัวอย่างแผนภาพการตัดสินใจ

ตามที่มาตรฐาน General Principles of Food Hygiene: Good Hygiene Practices (GHPs) and the Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System (CXC 1-1969), Revised in 2020 มีการปรับเปลี่ยนในปี 2566 เป็น General Principles of Food Hygiene: Good Hygiene Practices (GHPs) and the Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System (CXC 1-1969), Revised in 2022 ซึ่งมาตรฐานฉบับนี้ไม่ได้มีการกำหนดระยะเวลา Transition period โดยเนื้อหาที่ปรับเปลี่ยน มีรายละเอียดดังนี้

- อธิบายถึงวัตถุประสงค์และประโยชน์ของระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม EMS - อธิบายถึงบทบาทผู้ตรวจประเมินสำหรับการวางแผน การดำเนินการ การรายงานและการติดตามผลการตรวจประเมินตามมาตรฐาน ISO19011 - ได้รับทักษะในการวางแผน การดำเนินการ การรายงานและการติดตามผลการตรวจประเมินมาตรฐาน ISO19011 (และ ISO17021 ที่เหมาะสม)

จัดอบรมภายใต้..โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุก เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจฐานราก

ดำเนินการโดย..มูลนิธิสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ภายใต้..โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจฐานราก

วันที่ 7 กันยายน 2565 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร พร้อมด้วย นายภัสชญภณ หมื่นแจ้ง และนายสมบัติ ตงเต๊า รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร ร่วมประชุม Online กับ ผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร อัครราชทูต ฝ่ายการเกษตรประจำกรุงปักกิ่ง กงสุลเกษตร นครกวางโจว และนครเซี่ยงไฮ้ ติดตามกระบวนงานการส่งออกทุเรียน และผลไม้ไทย สู่จีน เพื่อรักษาความเชื่อมั่น คุณภาพมาตรฐาน ตามพิธีสารไทย-จีน ขยายมูลค่าเศรษฐกิจ 2 ประเทศ

ด้วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการปรับปรุงมาตรฐานฉบับใหม่ มกษ.9023-2564 และ มกษ.9024-2564 เพื่อใช้แทนฉบับเดิมคือ มกษ.9023-2550 และ มกษ.9024-2550

ด้วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขมาตรฐานสินค้าเกษตรให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน โดยปรับปรุงแก้ไขเรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ.2551 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2563 (มกษ.9035-2563) เพื่อใช้แทนฉบับเดิมคือ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สดตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ.2551 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2553 (มกษ.9035-2553)

(Transition arrangement) For General principles of food hygiene: Good Hygiene practices(GHPs) and The Hazard Analysis and CriticalControl Point (HACCP) SYSTEM(GHPS/HACCP)

จากที่ Codex มีการปรับเปลี่ยนจาก GMP & HACCP rev.4-2003 เป็น GHP & HACCP rev.5-2020 แล้วนั้น สรุปเนื้อหาโดยย่อในส่วนที่เป็นข้อกำหนดตาม GHP & HACCP rev.5-2020 ได้ดังนี้

MS CERT ผ่านการขึ้นทะเบียนหน่วยตรวจรับรอง จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร เพื่อป้องกันมิให้เป็นอาหารไม่บริสุทธิ์ ซึ่งมีหลายฉบับ ดังนั้นเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับประธานอาหารที่ปลอดภัย รวมถึงเพื่อยกระดับมาตรฐานเพื่อเตรียมเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หลายบริษัท ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อทำธุรกิจเป็นที่ปรึกษาและจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐาน ISO ให้ผู้ประกอบการได้เลือกใช้ตามต้องการ แต่การที่ธุรกิจนี้เป็นธุรกิจอิสระ และการขอใบรับรองมาตรฐานก็เป็นเรื่องของ ความสมัครยินยอมเอง โดยไม่มีกฎ หมายใดมาบังคับ ประกอบกับผู้ประกอบการไทยยังมีความรู้ความเข้าใจเรื่องของมาตรฐาน ISO น้อยมาก ดังนั้น อาจกลายเป็นเหยื่อแก่ผู้ฉวยโอกาสฉกประโยชน์จากช่องว่างที่มีอยู่นี้ได้

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้